การพัฒนาทางไกลที่พุ่งสูงขึ้นเป็นตัวผลักดันการใช้งาน Low-Code ท่ามกลางการบริหารต้นทุนให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง กรุงเทพฯ ประเทศไทย — การ์ทเนอร์ อิงค์ คาดการณ์ตลาดเทคโนโลยีพัฒนาแอปพลิเคชั่นแบบ Low-Code ทั่วโลกจะมีมูลค่ารวม 11.3 พันล้านดอลลาร์สหรัฐฯ ในปีนี้ เพิ่มขึ้น 23.2% จากปี 2563 ทั้งนี้การพัฒนาแบบรีโมทระหว่างการระบาดโควิด-19 ที่พุ่งสูงขึ้นจะเป็นตัวผลักดันการพัฒนาแบบ Low-Code มากยิ่งขึ้นแม้ว่าจะมีความพยายามในการบริหารต้นทุนให้เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
Read More »คุณสมบัติเด่น 5 ประการของ Low-code
ถือเป็นประเด็นน่าจับตาสำหรับคุณสมบัติเด่น 5 ประการของ Low-Code ด้วยมีแพลตฟอร์มมากมายในตลาดที่พร้อมเสนอแอป low-code ในหลากหลายรูปแบบซึ่งเต็มไปด้วยคุณสมบัติยาวและเต็มไปด้วยรายละเอียดมากมาย รวมถึงมีผู้เล่นในท้องตลาดมากกว่า 200 ราย อย่างไรก็ตามสำหรับหลายๆ แพลตฟอร์มนั้นดูเหมือนว่าจะเป็นประโยชน์อย่างมากสำหรับบุคคลหรือกลุ่มงานที่นำไปใช้เพื่อแก้ไขปัญหาเฉพาะจุดทางธุรกิจ แต่เพื่อให้บรรลุถึงคุณประโยชน์ที่แท้จริง low-code ควรถูกนำมาใช้ในรูปแบบของแอปพลิเคชันระดับองค์กรที่สามารถเพิ่มความคล่องตัวและเสริมสร้างกระบวนการทำงานแบบ Digital มอบประสบการณ์บริการในยุค digital transformation ได้อย่างไม่สะดุดและเป็นที่พึงพอใจต่อผู้ใช้งาน
Read More »ผลสำรวจความก้าวหน้าของการพัฒนาแอป Low-Code ในเอเชียแปซิฟิค: ประสบการณ์ของนักพัฒนายุคใหม่ในการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน
“ภายในปี 2567 จะมีนักพัฒนารุ่นใหม่ที่สร้างแอพพลิเคชันได้โดยไม่ต้องเขียนโค้ดคิดเป็น 20% ของนักพัฒนาทั้งหมดในแถบเอเชียแปซิฟิกรวมประเทศญี่ปุ่น (APJ) ซึ่งนักพัฒนาเหล่านี้คือผู้ขับเคลือนการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน”
Read More »ผลสำรวจความก้าวหน้าของการพัฒนาแอป Low-Code ในเอเชียแปซิฟิค: ประสบการณ์ของนักพัฒนายุคใหม่ในการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน
“ภายในปี 2567 จะมีนักพัฒนารุ่นใหม่ที่สร้างแอพพลิเคชันได้โดยไม่ต้องเขียนโค้ดคิดเป็น 20% ของนักพัฒนาทั้งหมดในแถบเอเชียแปซิฟิกรวมประเทศญี่ปุ่น (APJ) ซึ่งนักพัฒนาเหล่านี้คือผู้ขับเคลือนการทำดิจิทัลทรานส์ฟอร์เมชัน”
Read More »